บทความ

41 โลโก้วงกลมตัวอักษรโค้ง

รูปภาพ
วิธีทำ Homepage ใช้ร่วมกัน

การสร้างตัวหนังสือด้วย ai ch6

รูปภาพ
        ขั้นตอนการทำงาน วิธีการทำ homepage

ม.6/7 รุ่น72 ปี 2562

รูปภาพ
1.นายจิรัฏฐ์ ภิญโญชีพ ม.6/7 เลขที่1 2.นายพชร มูลคำ ม.6/7 เลขที่2 3.นายธนยศ ส่องแสง ม.6/7 เลขที่3 4.นายนวพรรษ กรุณากร ม.6/7 เลขที่ 4 5.นายเอกดนัย หล่าหา ม.6/7 เลขที่5 6.นายธนกฤต แก้วเรือนทอง ม.6/7 เลขที่6 7.นายนราธิป ทาทอง ม.6/7 เลขที่7 8. นายภควัฒน์ คุณล้าน ม.6/7 เลขที่8 9.นายภานุวิชญ์ เพียมูล ม.6/7 เลขที่9 10.นายสิรวิชญ์ เมฆวงศา ม.6/7 เลขที่10 11.นายกนก บำรุงกุล ม.6/7 เลขที่ 11 12.นายพัชรพล เต็งสมเพรช ม.6/7 เลขที่12 13.นายอัควัฒน์ ยิ่งวรวัฒนาเลิศ ม.6/7 เลขที่13 14.น.ส.ปิยะสุดา รอดย้อย ม.6/7 เลขที่ 14 15.น.ส.เสาวภาคย์ อึ่งหนองบัว ม.6/7 เลขที่ 15 16.น.ส.จีรนันท์ วงศ์นรา ม.6/7 เลขที่16 17.น.ส.ณัฎฐา อิ่มบัว ม.6/7 เลขทึ่ 17 18.น.ส.สิรินทร์มณี เพ็ชรพลอย ม.6/7 เลขที่18 19.น.ส.อิรวดี ฉายเพ็ชร ม.6/7 เลขที่ 19 20.น.ส.ฉัตรแก้ว มั่งคั่ง ม.6/7 เลขที่ 20 21.น.ส.ณัฐพร นาคใหญ่ ม.6/7 เลขที่ 21 22.น.ส.พรรณนารา ศรีไพบูลย์ ม.6/7 เลขที่ 22 23.น.ส.เมธาวี ผ่องเพิ่ม ม.6/7 เลขที่ 23 24.น.ส.ณัฐธิดา สวนจันทร์ ม

ผู้จัดทำ

รูปภาพ
ผู้จัดทำ ชื่อ นางสาวอพัชชา นามสกุล โสมจันทร์  ชั้น ม.6/7 เลขที่ 41 ชื่อเล่น พราว วันเกิด 23/11/2544 โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย 1 แผน วิทย์-คณิต คติประจำใจ  ทำแล้วเสียใจ ยังดีกว่าเสียใจที่ไม่ได้ทำ                                                                    homepage  

แบบจำลองอนุภาคของสสาร

รูปภาพ
แบบจำลองอนุภาคของสสาร 1. ของแข็ง  อนุภาคของของแข็งจะเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากที่สุด อนุภาคสั่นอยู่กับที่แต่จะไม่เคลื่อนที่ จึงทำให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที่ 2. ของเหลว  อนุภาคของของเหลวจะอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง แต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได้ แต่ไม่เป็นอิสระ โดยจะเคลื่อนที่รอบ ๆ อนุภาคที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีรูปร่างไม่คงที่ เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริมาตรคงที่ 3. แก๊ส  อนุภาคของแก๊สจะอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างไม่คงที่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ และมีปริมาตรไม่คงที่ เนื่องจากอนุภาคของแก๊สสามารถถูกบีบอัดและเคลื่อนที่ห่างกันได้มาก สสารแต่ละชนิดอาจเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ เช่น น้ำแข็ง น้ำ และไอน้ำ ขึ้นกับอุณหภูมิ ความดัน ของสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งในสถานะที่แตกต่างกันสสารก็มีสมบัติบางอย่างที่แตกต่างกันด้วย เช่น ความหนาแน่น แหล่ง อ้างอิง: https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/72323/-sci-sciche-          

สารละลายกรด – เบส

รูปภาพ
สารละลายกรด – เบส สารละลายกรด                                         กรด หมายถึง สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ( H +  ) สมบัติของสารละลายกรด กรดทุกชนิดมีรสเปรี้ยว เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง (มีค่าpH น้อยกว่า 7) ทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียม อะลูมิเนียม จะได้ฟองแก๊สไฮโดรเจนออกมา กรดมีสมบัติกัดกร่อนโลหะ หินปูน เนื้อเยื่อของร่างกาย ถ้ากรดถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังไหม้ ปวดแสบปวดร้อน  ถ้ากรดถูกเส้นใยของเสื้อผ้า เส้นใยจะถูกกัดกร่อนให้ไหม้ได้ นอกจากนี้ยังทำลายเนื้อไม้ กระดาษ และพลาสติกบางชนิดได้ด้วย กรดทำปฏิกิริยากับหินปูนซึ่งเป็นสารประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนต ทำให้หินปูนกร่อน จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีสมบัติทำให้น้ำปูนใสขุ่น สารละลายกรดทุกชนิ ดนำไฟฟ้าได้ดี เพราะกรดสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำ กรดทำปฏิกิริยากับโลหะได้แก๊สไฮโดรเจนซึ่งเป็นแก๊สที่เบาติดไฟได้ สารละลายเบส                เบส   คือ สารประกอบที่ทำปฏิกิริยากับกรด แล้วได้เกลื